ลำดับ | ผลการประเมิน | จำนวน(ราย) |
---|---|---|
1 | ระดับความพร้อมน้อยที่สุด ใช้วิธี Family Therapy | 68 |
2 | ระดับความพร้อมน้อย ใช้วิธี Family Therapy / Family Counseling | 0 |
3 | ระดับความพร้อมปานกลาง ใช้วิธี Counseling | 0 |
4 | ระดับความพร้อมมาก ใช้วิธี Psycho – Social Support | 0 |
5 | ระดับความพร้อมมากที่สุด ใช้วิธี Psycho – Social Education | 0 |
ลำดับ | คำถาม | จำนวน(ราย) |
---|---|---|
1 | ระดับรายได้ของครอบครัว | |
ไม่มีรายได้ทั้งจากตนเอง หรือได้รับจากผู้อื่น | 1 | |
ไม่มีรายได้ของตนเอง (มีหนี้สิน ไม่มีเงินออม) | 0 | |
มีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย (มีหนี้สิน ไม่มีเงินออม) | 1 | |
มีรายได้เท่ากับรายจ่าย (ไม่มีเงินออมและไม่มีปัญหาหนี้สิน) | 0 | |
มีรายได้สูงกว่ารายจ่าย แต่ไม่มีเงินออม (ไม่มีเงินออม และไม่มีปัญหาหนี้สิน) | 0 | |
มีรายได้สูงกว่ารายจ่าย (มีเงินออม ไม่มีปัญหา หนี้สิน) | 0 | |
2 | สภาพแวดล้อมภายในบ้าน | |
ไม่มีที่อยู่แน่นอน เร่ร่อนไร้บ้าน | 0 | |
มีที่อยู่แน่นอน แต่ไม่มี สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมใดๆ | 2 | |
ที่อยู่มีความเป็นสัดส่วน | 1 | |
ที่อยู่ถูกสุขลักษณะ สะอาดอากาศถ่ายเท | 1 | |
ที่อยู่มีความปลอดภัยทางกายภาพ | 1 | |
ที่อยู่มีพื้นที่ว่างในการทำ กิจกรรม | 1 | |
3 | ความรักใคร่ผูกพันในครอบครัว | |
ไม่ได้รับความรัก | 1 | |
ดูแลเอาใจใส่ เอื้ออาทร | 1 | |
ส่งเสริม สนับสนุนทาง จิตใจกล่าวชื่นชม | 1 | |
มีการสัมผัสทางกาย | 1 | |
ทำกิจกรรมร่วมกันสม่าเสมอ | 1 | |
4 | ความสามารถในการแก้ไขปัญหาของสมาชิกในครอบครัว | |
ไม่มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา | 1 | |
เผชิญปัญหาร่วมกัน | 1 | |
รับรู้ปัญหาและหารือร่วมกัน | 1 | |
รับผิดชอบปัญหาร่วมกัน | 1 | |
ช่วยกันแก้ไขปัญหา | 1 | |
ยอมรับความเจ็บป่วย | 0 | |
5 | ความสามารถของสมาชิกในครอบครัวต่อการจัดการพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วย | |
ไม่มีความสามารถในการ จัดการพฤติกรรม | 1 | |
ทักษะการควบคุมพฤติกรรม | 1 | |
การให้แรงเสริมที่เหมาะสม | 1 | |
ฝึกระเบียบวินัย | 1 | |
สมาชิกในครอบครัวรู้ วิธีการดูแลเมื่อผู้ป่วยมี ปัญหาพฤติกรรม | 1 | |
ยอมรับกฎ กติกาของ ครอบครัว | 1 | |
6 | การยอมรับและให้อภัยของสมาชิกในครอบครัวเมื่อผู้ป่วยทำผิดหรือมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม | |
ไม่มีการยอมรับหรือให้ กำลังใจ | 1 | |
ยอมรับความแตกต่าง ส่วนบุคคล | 1 | |
ให้อภัยและให้โอกาส แก้ไข | 1 | |
ยอมรับโดยไม่มีเงื่อนไข | 2 | |
ให้กำลังใจ | 1 | |
7 | การสื่อสารระหว่างกันของสมาชิกในครอบครัว | |
ไม่มีการสื่อสารใด ๆ | 0 | |
มีการรับรู้ความรู้สึก | 1 | |
พูดคุย/แสดงความรู้สึกและความต้องการได้อย่างเปิดเผย | 2 | |
มีอิสระในการแสดงความคิดเห็น | 2 | |
มีสัมผัส โอบกอดระหว่าง สมาชิก | 1 | |
มีการสื่อสารเพื่อลดความ ขัดแย้ง | 0 | |
8 | การตระหนักและสามารถทำหน้าที่ตามบทบาทของตนอย่างเหมาะสมของสมาชิกในครอบครัว | |
ไม่มีการทำหน้าที่ตามบทบาท | 1 | |
ตระหนักรู้ มีความชัดเจน ในบทบาทของตน | 0 | |
การแบ่งเบาภาระ | 0 | |
การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ของครอบครัว | 1 | |
การมอบหมายหน้าที่ในครอบครัว | 1 | |
รับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ | 0 | |
9 | ความรู้ ความเข้าใจของสมาชิกในครอบครัวต่อการดูแลผู้ป่วย | |
ไม่มีความรู้ ความเข้าใจใน การดูแลผู้ป่วย | 0 | |
มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง โรคที่ผู้ป่วยเป็น | 0 | |
มีความรู้ ความเข้าใจใน การดูแลผู้ป่วย | 0 | |
มีความสามารถในการดูแล ผู้ป่วย | 1 | |
มีความสามารถในการ สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง อาการกาเริบของผู้ป่วยได้ | 1 | |
มีความเข้าใจในสภาพจิตใจ ของผู้ป่วย | 0 | |
10 | การมีเครือข่ายทางสังคมของสมาชิกในครอบครัว เพื่อขอรับการช่วยเหลือ | |
ไม่มีเครือข่าย | 0 | |
ญาติ (ที่ไม่ได้อยู่ใน ครอบครัว) | 2 | |
เพื่อนบ้าน | 1 | |
ผู้นำชุมชน / อาสาสมัคร ในชุมชน | 2 | |
หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน | 2 |